สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินศึกษา
ผู้ตรวจการแผ่นดิน TH EN twitter สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดิน Youtube สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดิน
วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน >> วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน >> ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2566
การจัดการตนเองของชุมชน: ศึกษากรณีป่าชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี

วันที่ 18 ธ.ค. 2566
 
ชมภูนุช หุ่นนาค
วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
 
พลัฐวัษ วงษ์พิริยชัย
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

จุมพล หนิมพานิช
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  
คำสำคัญ : การจัดการตนเองของชุมชน, ป่าชุมชนบ้านยางโทน, ป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี,จังหวัดกาญจนบุรี
 
บทคัดย่อ 

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ (1) เพื่อวิเคราะห์การจัดการตนเองเกี่ยวกับป่าชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี (2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดการตนเองเกี่ยวกับป่าชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี และ (3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการตนเองเกี่ยวกับป่าชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี
          การวิจัยนี้เป็นการวิจัยคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 31 คน ได้แก่ (1) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านยางโทน (2) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี และ (3) เจ้าหน้าที่ภาครัฐ เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการอุปนัย
          ผลการวิจัย พบว่า (1) ป่าชุมชนทั้งสองพื้นที่ในจังหวัดกาญจนบุรี มีการจัดการตนเองในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย (ก) หลักการประชาธิปไตยชุมชน (ข) หลักการจัดการที่มีความยืดหยุ่น (ค) หลักการทำงานแบบทันที (ง) หลักการเชื่อมโยงกิจกรรมจากทุกภาคส่วน (จ) หลักการแบ่งภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ และ (ฉ) หลักการใช้ทุนที่มีอยู่ในชุมชนเป็นหลัก (2) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการตนเองเกี่ยวกับป่าชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีที่สำคัญ ได้แก่ งบประมาณ บุคลากรภาครัฐ และวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ มีไม่เพียงพอในการดำเนินกิจกรรมในป่าชุมชน และ (3) แนวทางการพัฒนาการจัดการตนเองเกี่ยวกับป่าชุมชนในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนควรสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานในป่าชุมชน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
 
References

Amporn Tamronglak. (2010). kānbō̜rihān pokkhrō̜ng sāthārana : kānbō̜rihān rat kit nai satawat thī yīsipʻet. [Public Governance: Public Administration in the 21st Century]. Bangkok: Thammasat Printing House.
 
Berg, B.L. (2001). Qualitative Research Methods for the Social Sciences. (4thed.). Boston, MA: Allyn & Bacon.
 
čhaonāthī pāmai เจ้าหน้าที่ป่าไม้ (2023, March 31). Interview. Kanchanaburi Provincial Forest Center.
 
Citizens' Forest Network. (2022, October 5). kānčhatkān pāmai khō̜ng Thai. [Forest Management in Thailand]. Retrieved from https://thaicfnet.org/management/1/4
 
Community Forest Management Office. (2014). pā chumchon rūpbǣp kānphatthanā læ bō̜rihān čhatkān pā yāng yangyư̄n. [Community Forest, a Model for Sustainable Forest Development and Management]. Bangkok: Community Forest Management Office, Royal Forest Department.
 
Community Forest Management Office. (2022, October 20). pā chumchon tonbǣp withī khon withī pā čhangwat : Kānčhanaburī. [Model community forest, people's way of life, forest way, Province: Kanchanaburi]. Retrieved from https://www.forest.go.th/ppd/network51/
 
Community Organizations Development Institute. (2011). chumchon čhatkān tonʻēng : khwāmmāi læ tūa chī wat. [Self-Governance Community: Definition and Indicators]. Journal of Community News, 130, 6-7.
 
Dale, E. (1968). Management: Theory and Practice. New York: McGraw-Hill.
 
Green Globe Institute. (2022, October 13). phon ngān rāngwan lūklōk sīkhīeo. [Green Globe Awards]. Retrieved from https://www.greenglobeinstitute.com/
Frontend/Content.aspx?ContentID=85fec0c5-0120-4087-aa28-4452bf176af6
 
khana kammakān klum pā chum chon bā nayāng thōn khon thī nưng คณะกรรมการกลุ่มป่าชุมชนบ้านยางโทน คนที่ 1 (2023, April 11). Interview. Yang Thon Village Community Forest.
 
khana kammakān klum pā chum chon bā nayāng thōn khon thī sī, คณะกรรมการกลุ่มป่าชุมชนบ้านยางโทน คนที่ 4 (2023, April 11). Interview. Yang Thon Village Community Forest.
 
khana kammakān klum pā chum chon bānhūai saphān sāmakkhī khon thī sō̜ngคณะกรรมการกลุ่มป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี คนที่ 2 (2023, April 12). Interview. Huai Saphan Samakkhi Village Community Forest.
 
khana kammakān klum pā chum chon bānhūai saphān sāmakkhī khon thī sāmคณะกรรมการกลุ่มป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี คนที่ 3 (2023, April 12). Interview. Huai Saphan Samakkhi Village Community Forest.
 
klum ʻāsāsamak phithak sapphayākō̜n thammachāt læ singwǣtlō̜m pā chum chon bā nayāng thōn khon thī nưng กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนบ้านยางโทน คนที่ 1 (2023, April 11). Interview. Yang Thon Village Community Forest.
 
klum ʻāsāsamak phithak sapphayākō̜n thammachāt læ singwǣtlō̜m pā chum chon bānhūai saphān sāmakkhī khon thī sām กลุ่มอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี คนที่ 3 (2023, April 12). Interview. Huai Saphan Samakkhi Village Community Forest.
 
Kooiman, J. (2003). Governing as Governance. London: Sage Publications Ltd.
 
Koontz, H.D and O'Donnell, C. (1972). Principles of Management. New York: McGraw-Hill.
 
Kowit Puang-ngam. (2019). kānčhatkān tonʻēng khō̜ng chumchon læ thō̜ngthin. [Community and Local Self-Governance]. (2nd ed). Nonthaburi: Dharmasarn Printing Company Limited.
 
OECD. (1991). Public Management Development. Paris: OECD.
 
Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. (2022, October 5). chum chon bā nayāng thōn tō̜ . sī mongkhon ʻō̜ . sai yōk čhō̜ . Kānčhanaburī . [Ban Yang Thon Community, Srimongkol Subdistrict, Sai Yok District, Kanchanaburi Province]. Retrieved from http://community.onep.go.th/location/ban_yangton
 
Patom Manirojana. (2011). sāthārana khadī : phāk rat nai mummō̜ng kotmāi kānmư̄ang læ kānbō̜rihān. [Public affairs: Public Sector from a Legal, Political and Administrative Perspective]. Bangkok: Supaporn Printing.
 
Rhodes, R.A.W. (1996). The New Governance: Governing without Government. Political Studies. 652-667.
 
Royal Forest Department. (2022, October 20). tārāng sadǣng rāilaʻīat khrōngkān pā chumchon thī krom pāmai ʻanumat pračham pīngoppramān sō̜ngphanhārō̜isīsipsām patčhuban čhangwat Kānčhanaburī . [Table showing Details of Community Forest Projects Approved by the Royal Forest Department Fiscal Year 2000 - Present Kanchanaburi Province]. Retrieved from https://www.forest.go.th/for10/
 
Sai Yok District Community Development Office. (2021). mūbān sārasonthēt chumchon dī dēn phư̄a phatthanā sētthakit læ khunnaphāp chīwit. [Outstanding Community Information Village for Economic Development and Quality of Life]. Kanchanaburi: Sai Yok District Community Development Office.
 
Somying Soontornwong. (2022, October 5). pā chumchon kap sangkhom Thai. [Community Forest and Thai Society]. Retrieved from https://www.recoftc.org/thailand/stories/
 
The Secretariat of the Cabinet. (2022, October 11). ratthammanūn hǣng rātchaʻānāčhak Thai chabap pī Phō̜.Sō̜. sō̜ngphanhārō̜ihoksip. [Constitution of the Kingdom of Thailand, 2017 Edition]. Retrieved from http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF
 
Torfing, J. (2012). "Governance Networks.” In Oxford Handbook of Governance, pp. 99-112. Levi-Faur, D., ed. New York, Oxford University Press.
 
Wheatley, M. J. (1999). Leadership and the New Science: Discovering Order in a Chaotic World. 2nd ed. San Francisco: Berrett-Koehler Publishers.
 
เผยแพร่แล้ว
30.12.2023
ฉบับ

บทความวิจัย
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
 
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
  • เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
  • บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารฯ ก่อนเท่านั้น
« พฤษภาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
    1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด
ลิงค์ที่น่าสนใจ เว็บไซต์องค์กรตามรัฐธรรมนูญ


   หน้าหลัก
    • ข่าวและประกาศ
    • ภาพกิจกรรม

   เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา                
    • โครงสร้างองค์กร 
    • ภารกิจ
    • บุคลากร

   วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน
    • เกี่ยวกับเรา                            
    • วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน 
    • ส่งบทความ
    • ข้อแนะนำการส่งบทความ
    • กองบรรณาธิการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ
    • ติดต่อเรา

   ความร่วมมือ
    • ภายในประเทศ
    • ต่างประเทศ

   แผ่นพับ

   ติดต่อเรา
สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550  อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 5 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 แขวง ทุ่งสองห้อง เขต หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
หมายเลขโทรศัพท์ (สผศ.) : 0-2141-9383 และ 0-2141-9295 , หมายเลขโทรสาร (สผศ.) : 0-2143-9385
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์