สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินศึกษา
ผู้ตรวจการแผ่นดิน TH EN twitter สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดิน Youtube สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดิน
วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน >> วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน >> ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2566
หลักประกันการจ่ายค่าชดเชย: ข้อพิจารณาเพื่อแก้ปัญหาการเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย

วันที่ 19 ธ.ค. 2566
 
พรเพ็ญ ไตรพงษ์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
เกวลิน ยังประเสริฐกุล
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
คำสำคัญ : ค่าชดเชย, สัญญาจ้าง, โรคระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19)
 
บทคัดย่อ 

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและแสวงหาแนวทางการแก้ไขปัญหากรณีนายจ้างไม่จ่ายชดเชยเมื่อสิ้นสุดสัญญาจ้างโดยลูกจ้างมิได้กระทำความผิดร้ายแรง ในสภาพสังคมปัจจุบันภายหลังจากมีเหตุการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ที่ก่อให้เกิดผลกระทบกับทุกภาคส่วนทั้งภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม ส่งผลให้ธุรกิจและสถานประกอบการหลายแห่งจะต้องประสบปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ทำให้นายจ้างไม่สามารถจะแบกรับภาระที่เกิดขึ้นได้ จึงตัดสินใจปิดกิจการลง ต่อมาเมื่อได้ปิดกิจการไปแล้ว นายจ้างจะมีหน้าที่ตามกฎหมายในการจ่ายเงินต่าง ๆ ให้แก่ลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับเงินตามกฎหมาย โดยในปัญหานี้จะกล่าวถึงเงินค่าชดเชยตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับหากนายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างแล้ว แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นกรณีที่นายจ้างมีเจตนาหลบหนีการจ่ายค่าชดเชย โดยปล่อยภาระให้รัฐเป็นผู้จัดการความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของลูกจ้างดังกล่าว หรืออีกกรณีหนึ่งที่นายจ้างไม่มีเจตนาหลบหนีการจ่ายค่าชดเชย แต่นายจ้างไม่มีทรัพย์สินอื่นใดเหลืออยู่เพียงพอที่จะจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้าง แม้ว่าจะดำเนินคดีตามกฎหมายไปถึงขั้นบังคับคดีแล้วนั้น แต่นายจ้างก็ไม่มีทรัพย์สินใด ๆ มาจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างได้
 
References

Chayin Petchpaisit. (2022). Some remarks about the compensation in the contract for a fixed period according to the judgment of the court. Academic Journal of Faculty of Laws Huachiew Chalermprakiet University, 12(2), 144-155.
 
Department of Labor Protection and Welfare. (2023). Report on the results of the study of the employer's provision of guarantees to pay compensation to employees in the event of the employer's termination of employment. (complete version). Bangkok: Legal Division, Department of Labor Protection and Welfare. ministry of labor.
 
Employee Welfare Fund Group. (2021). Report of July 2021. Bangkok: Labor Protection Division. Ministry of Labor.
 
Government of Thailand. (2021). Effective! Employee Welfare Fund Regulations In the case of being dismissed by an employer because of COVID Submit an application for assistance. Retrieved April 10, 2023, source https://www.thaigov.go.th/infographic/contents/details/4386.
 
Kasemsan Wilawan. (2022). Explanation of labor law. (30th edition). Bangkok: Winyuchon.
 
Kittiyaphon Prayoonprom. (2006). La France : Le pays où la rue joue le rôle important (Call from the streets). Retrieved April 8, 2023, source http://www.public-law.net/publaw/printPublaw.aspx?ID=903
 
Monthee Kapilkan, and Pornchanok Thepkham. (2021). Appropriate labor measures, flexible, ready to co-exist with COVID. Retrieved April 10, 2023, source https://www.prachachat.net/columns/news-768214
 
Montira Yuenyongthawiphonchai. (2012). Recognition of severance pay under the Labor Protection Act B.E. 2541 of employees in Bangkok. Thammasat University
 
Nareerat Rodwieng, Tavee Jamjamrat, and Eumporn Sirirat. (2023). Prior factors influencing the administration effectiveness of the employee welfare fund in Bangkok and its vicinity during the COVID-19 era. Journal of Management and Development Research, 13(2), 301-318.
 
Pongpreeda Thongmadee, Natcha Hakemann, Kunpranee Sriyai, and Suwicha Yencharoen. (2017). Working problems of aliens in Chanthaburi province: a case study of wages, overtime pay, holiday pay and compensation. Rambhai Barnee Research Journal, 11(3), 48-57.
 
Pongrat Kruaklin. (2022). Explanation of labor laws for human resource management. (13th edition). Bangkok: Dharmniti Place.
 
Ritdhidhram Chantaveera. (2017). Compensation and retirement. Thammasat University
 
Siritham Yensuang. (2011). Employment at Will termination of the United States. Retrieved April 11, 2023, source. https://oia.coj.go.th/th/content/category/detail/id/8/cid
/117/iid/120253
#
 
Thawal Ruyaporn, Treeneat Sarapong, and Vorrayuth Poonsuk. (2022). Legal problems for labor protection during coronavirus disease 2019 pandemic. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University Nationals, 16(3), 105-122.
 
Wichitra (Funglada), Wichianchom. (2023). Compensation under the Labor Protection Law. Dhurakij Pundit University
 
Wisut Pankhiri. (2006). Compensation and unemployment benefits. Chulalongkorn University
 
Worapapha Mahasamran. (2020). Compensation payment under the Labor Protection Act B.E. 2562. Journal of Management Science Review, 22(1), 203-212
 
เผยแพร่แล้ว
30.12.2023
ฉบับ

บทความวิชาการ
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
 
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
  • เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
  • บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารฯ ก่อนเท่านั้น
« พฤษภาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
    1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด
ลิงค์ที่น่าสนใจ เว็บไซต์องค์กรตามรัฐธรรมนูญ


   หน้าหลัก
    • ข่าวและประกาศ
    • ภาพกิจกรรม

   เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา                
    • โครงสร้างองค์กร 
    • ภารกิจ
    • บุคลากร

   วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน
    • เกี่ยวกับเรา                            
    • วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน 
    • ส่งบทความ
    • ข้อแนะนำการส่งบทความ
    • กองบรรณาธิการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ
    • ติดต่อเรา

   ความร่วมมือ
    • ภายในประเทศ
    • ต่างประเทศ

   แผ่นพับ

   ติดต่อเรา
สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550  อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 5 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 แขวง ทุ่งสองห้อง เขต หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
หมายเลขโทรศัพท์ (สผศ.) : 0-2141-9383 และ 0-2141-9295 , หมายเลขโทรสาร (สผศ.) : 0-2143-9385
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์