สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินศึกษา
ผู้ตรวจการแผ่นดิน TH EN twitter สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดิน Youtube สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดิน
วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน >> วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน >> ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2555
รัฐธรรมนูญกับอุดมการณ์ทางการเมืองภายใต้บริบทของความเป็นไทย


 
          รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการ ปกครองรัฐ เป็นระเบียบแบบแผนในการปกครอง ประเทศ และเป็นที่มาแห่งอำนาจของกฎหมายทั้งปวง ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ (Supreme Law) เป็นกรอบในการกำหนดว่าองค์กรใดเป็นผู้ใช้ อำนาจ มีขอบเขตการใช้อำนาจเพียงใด มีกระบวนการ ใช้อำนาจอย่างไร และเป็นสิ่งให้การรับรองทาง กฎหมายของปัจเจกบุคคล (Individual) ในสิ่งที่เป็น ที่ยอมรับในสังคมซึ่งปรากฏในหมวดว่าด้วยสิทธิ เสรีภาพของประชาชน สิทธิบางประการ เช่น สิทธิ ในชีวิตและร่างกาย สิทธิในการเลือกนับถือศาสนา เป็นต้น ซึ่งการบัญญัติในรัฐธรรมนูญจะเป็น การรับรอง ยืนยัน และสร้างหลักประกันให้กับ ประชาชนในการอ้างสิทธิดังกล่าวได้อย่างชอบธรรมและเป็นรูปธรรม
          ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ อันเป็นเสมือนกรอบกติกาของคนในสังคม แสดง ให้เห็นถึงโครงสร้างของรัฐ ความสัมพันธ์ในเชิง อำนาจขององค์กรที่ใช้อำนาจกับประชาชน และ ระหว่างองค์กรด้วยกันเอง ในการออกกฎหมาย ลำดับรอง (Subordinate Legislation) จะต้อง เป็นไปภายใต้กรอบ ของข้อความที่บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนูญ กฎหมายใดจะขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติ ในรัฐธรรมนูญมิได้ หากกฎหมายใดขัดหรือแย้งกับ ข้อความที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายนั้นย่อมเป็นอันใช้บังคับมิได้
 
« พฤษภาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
    1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด
ลิงค์ที่น่าสนใจ เว็บไซต์องค์กรตามรัฐธรรมนูญ


   หน้าหลัก
    • ข่าวและประกาศ
    • ภาพกิจกรรม

   เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา                
    • โครงสร้างองค์กร 
    • ภารกิจ
    • บุคลากร

   วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน
    • เกี่ยวกับเรา                            
    • วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน 
    • ส่งบทความ
    • ข้อแนะนำการส่งบทความ
    • กองบรรณาธิการ
    • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ
    • ติดต่อเรา

   ความร่วมมือ
    • ภายในประเทศ
    • ต่างประเทศ

   แผ่นพับ

   ติดต่อเรา
สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550  อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 5 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 แขวง ทุ่งสองห้อง เขต หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
หมายเลขโทรศัพท์ (สผศ.) : 0-2141-9383 และ 0-2141-9295 , หมายเลขโทรสาร (สผศ.) : 0-2143-9385
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์